การสร้างชุดการทำงานสำเร็จรูป

ขั้นตอนที่ 1  การเข้าสู่หน้าจอชุดการทำงานสำเร็จรูป ผู้ดูแลระบบ (Admin) จะเป็นผู้ที่มีสิทธิในการสร้างชุดการทำงานสำเร็จรูป โดยขั้นตอน มีดังนี้ ขั้นตอนที่ 2  การสร้างชุดการทำงานสำเร็จรูป เมื่อผู้ใช้งานกดปุ่ม “สร้างชุดการทำงานสำเร็จรูป” ระบบแสดงหน้าจอสร้างชุดการทำงานสำเร็จรูป โดยข้อมูลที่ต้องกรอก ประกอบด้วย สาธารณะ คือ พนักงานทุกคนจะมองเห็นและใช้งานได้ (ค่าเริ่มต้น) ส่วนตัว คือ คุณจะมองเห็นและสามารถใช้ได้เท่านั้น ผู้ใช้งานสามารถเพิ่มการกระทำได้หลากหลายเงื่อนไข ซึ่งจะอธิบาย แต่ละเงื่อนไขการกระทำในหน้าถัดไป เพื่อยืนยันการสร้างชุดการทำงานสำเร็จรูป ตัวอย่าง เงื่อนไขการกระทำในชุดการทำงานสำเร็จรูป เงื่อนไขการกระทำ  ที่สามารถเลือกสร้างชุดการทำงานสำเร็จรูป ประกอบด้วย โดยผู้ใช้งน สามารถเลือกใช้เงื่อนไขสร้างชุดการทำงานสำเร็จรูป แบบหลายเงื่อนไข ตามลำดับที่ต้องการได้ เงื่อนไขการกระทำ : มอบหมายให้ทีม เมื่อผู้ใช้งานกดปุ่ม “สร้างชุดการทำงานสำเร็จรูป” เมื่อต้องการให้ชุดการทำงานสำเร็จรูปพนักงานทุกคนจะมองเห็นและใช้งานได้ แสดงตัวอย่างการใช้งานชุดการทำงานสำเร็จรูป บนหน้าสนทนา เงื่อนไขการกระทำ : มอบหมายให้พนักงาน เมื่อผู้ใช้งานกดปุ่ม “สร้างชุดการทำงานสำเร็จรูป” เมื่อต้องการให้ชุดการทำงานสำเร็จรูปพนักงานทุกคนจะมองเห็นและใช้งานได้ แสดงตัวอย่างการใช้งานชุดการทำงานสำเร็จรูป บนหน้าสนทนา เงื่อนไขการกระทำ : เพิ่มป้ายกำกับให้การสนทนา เมื่อผู้ใช้งานกดปุ่ม […]

ชุดการทำงานสำเร็จรูป  คืออะไร?

ชุดการทำงานสำเร็จรูป  คือ ??? ชุดการทำงานสำเร็จรูป (Step Action) คือ การกำหนดการกระทำ (Action) ตามลำดับที่กำหนดอัตโนมัติ เช่น การแท็กการสนทนาด้วยป้ายกำกับ การส่งข้อความถอดเสียงทางอีเมล การอัปเดตแอตทริบิวต์ที่กำหนดเอง ฯลฯ  สามารถเรียกใช้ชุดการทำงานเหล่านี้ได้ในคลิกเดียว เมื่อผู้ใช้งานเรียกใช้ ชุดการทำงานสำเร็จรูปจะดำเนินการตามลำดับที่กำหนดไว้

การลบแอตทริบิวต์ที่กำหนดเอง

ขั้นตอนที่ 1 การลบแอตทริบิวต์ที่กำหนดเอง ผู้ดูแลระบบ (Admin) จะเป็นผู้ที่มีสิทธิในการลบแอตทริบิวต์ที่กำหนดเองในระบบ โดยขั้นตอนลบ มีดังนี้ ขั้นตอนที่ 2 ตัวอย่างขั้นตอนการลบแอตทริบิวต์ที่กำหนดเอง เพื่อยืนยันการลบแอตทริบิวต์ที่กำหนดเอง เพื่อยกเลิกการลบแอตทริบิวต์ที่กำหนดเอง

การแก้ไขแอตทริบิวต์ที่กำหนดเอง

ขั้นตอนที่ 1  การเข้าสู่หน้าจอตั้งค่าแอตทริบิวต์ที่กำหนดเอง ผู้ดูแลระบบ (Admin) จะเป็นผู้ที่มีสิทธิในการแก้ไขแอตทริบิวต์ที่กำหนดเอง โดยขั้นตอน มีดังนี้ ขั้นตอนที่ 2 กรอกข้อมูลแก้ไขแอตทริบิวต์ที่กำหนดเอง เมื่อผู้ใช้งานกดปุ่ม “แก้ไข” ระบบแสดงหน้าจอแก้ไขแอตทริบิวต์แบบกำหนดเอง โดยข้อมูลที่สามารถแก้ไขได้ประกอบด้วย ระบบ Disable ช่องคีย์ ไม่สามารถแก้ไขได้ ระบบ Disable ช่องประเภท ไม่สามารถแก้ไขได้ เพื่อยืนยันการแก้ไขแอตทริบิวต์แบบกำหนดเอง เพื่อยืนยันการยกเลิกการแก้ไขแอตทริบิวต์แบบกำหนดเอง

การสร้างแอตทริบิวต์รายชื่อผู้ติดต่อ

ขั้นตอนที่ 1  การเข้าสู่หน้าจอตั้งค่าแอตทริบิวต์ที่กำหนดเอง ผู้ดูแลระบบ (Admin) จะเป็นผู้ที่มีสิทธิในการเพิ่มแอตทริบิวต์ที่กำหนดเอง โดยขั้นตอน มีดังนี้ ขั้นตอนที่ 2  เมื่อผู้ใช้งานกดปุ่ม “เพิ่มแอตทริบิวต์แบบกำหนดเอง” ระบบแสดงหน้าจอเพิ่มแอตทริบิวต์แบบกำหนดเอง โดยข้อมูลที่จำเป็นต้องกรอก ประกอบด้วย รองรับภาษาไทย/อังกฤษ ระบบแสดงให้อัตโนมัติ อ้างอิงจากช่อง “แสดงรายชื่อ” สามารถแก้ไขได้ แต่คีย์จะต้องไม่ซ้ำ ประกอบด้วย Text, Number, Link, Date, List, Checkbox เพื่อยืนยันการเพิ่มแอตทริบิวต์แบบกำหนดเอง เพื่อยกเลิกการเพิ่มแอตทริบิวต์แบบกำหนดเอง ตัวอย่าง การตั้งค่าการเพิ่มแอตทริบิวต์รายชื่อผู้ติดต่อ ประเภทต่าง ๆ การเพิ่มแอตทริบิวต์รายชื่อผู้ติดต่อ ประเภท : Text เมื่อผู้ใช้งานกดปุ่ม “เพิ่มแอตทริบิวต์แบบกำหนดเอง” ระบบแสดงหน้าจอเพิ่มแอตทริบิวต์แบบกำหนดเอง โดยข้อมูลที่จำเป็นต้องกรอก ประกอบด้วย แสดงตัวอย่างการใช้งานแอตทริบิวต์รายชื่อผู้ติดต่อ บนหน้าจอรายชื่อผู้ติดต่อ การเพิ่มแอตทริบิวต์รายชื่อผู้ติดต่อ ประเภท : Number เมื่อผู้ใช้งานกดปุ่ม “เพิ่มแอตทริบิวต์แบบกำหนดเอง” ระบบแสดงหน้าจอเพิ่มแอตทริบิวต์แบบกำหนดเอง โดยข้อมูลที่จำเป็นต้องกรอก ประกอบด้วย แสดงตัวอย่างการใช้งานแอตทริบิวต์รายชื่อผู้ติดต่อ […]

การสร้างแอตทริบิวต์การสนทนา

ขั้นตอนที่ 1  การเข้าสู่หน้าจอตั้งค่าแอตทริบิวต์ที่กำหนดเอง ผู้ดูแลระบบ (Admin) จะเป็นผู้ที่มีสิทธิในการเพิ่มแอตทริบิวต์ที่กำหนดเอง โดยขั้นตอน มีดังนี้ ขั้นตอนที่ 2 กรอกข้อมูลเพื่อสร้างแอตทริบิวต์ เมื่อผู้ใช้งานกดปุ่ม “เพิ่มแอตทริบิวต์แบบกำหนดเอง” ระบบแสดงหน้าจอเพิ่มแอตทริบิวต์แบบกำหนดเอง โดยข้อมูลที่จำเป็นต้องกรอก ประกอบด้วย ระบบกำหนด Conversation เป็นค่าเริ่มต้น รองรับภาษาไทย/อังกฤษ ระบบแสดงให้อัตโนมัติ อ้างอิงจากช่อง “แสดงรายชื่อ” สามารถแก้ไขได้ แต่คีย์จะต้องไม่ซ้ำ ประกอบด้วย Text, Number, Link, Date, List, Checkbox เพื่อยืนยันการเพิ่มแอตทริบิวต์แบบกำหนดเอง เพื่อยกเลิกการเพิ่มแอตทริบิวต์แบบกำหนดเอง ตัวอย่าง การตั้งค่าการเพิ่มแอตทริบิวต์การสนทนา ประเภทต่าง ๆ การเพิ่มแอตทริบิวต์การสนทนา ประเภท : Text เมื่อผู้ใช้งานกดปุ่ม “เพิ่มแอตทริบิวต์แบบกำหนดเอง” ระบบแสดงหน้าจอเพิ่มแอตทริบิวต์แบบกำหนดเอง โดยข้อมูลที่จำเป็นต้องกรอก ประกอบด้วย แสดงตัวอย่างการใช้งานแอตทริบิวต์การสนทนา บนหน้าจอการสนทนา การเพิ่มแอตทริบิวต์การสนทนา ประเภท : Number เมื่อผู้ใช้งานกดปุ่ม “เพิ่มแอตทริบิวต์แบบกำหนดเอง” ระบบแสดงหน้าจอเพิ่มแอตทริบิวต์แบบกำหนดเอง […]

แอตทริบิวต์  คืออะไร?

แอตทริบิวต์  คืออะไร? แอตทริบิวต์ (Attribute) เป็นข้อมูลที่แสดงลักษณะของเอนทิตี้ เช่น  แอตทริบิวต์ของเอนทิตี้ “รายชื่อผู้ติดต่อ” ของระบบ Omoo ประกอบด้วย กรณีผู้ใช้งานต้องการเพิ่มแอตทริบิวต์ของแอนทิตี้ “รายชื่อผู้ติดต่อ” นอกเหนือจากที่ระบบ Omoo มีให้ ผู้ใช้งานสามารถสร้างแอตทริบิวต์เพิ่มได้ง่ายๆ โดยสามารถสร้างแอตทริบิวต์ที่กำหนดเอง ตามขั้นตอนการเพิ่มแอตทริบิวต์กำหนดเองในบทถัดไป

การลบป้ายกำกับ

ขั้นตอนที่ 1 การลบป้ายกำกับ ผู้ดูแลระบบ (Admin) จะเป็นผู้ที่มีสิทธิในการลบป้ายกำกับในระบบ โดยขั้นตอนลบป้ายกำกับ มีดังนี้ ขั้นตอนที่ 2 การลบป้ายกำกับ ผู้ดูแลระบบ (Admin) จะเป็นผู้ที่มีสิทธิในการลบป้ายกำกับในระบบ โดยตัวอย่างขั้นตอนลบป้ายกำกับ มีดังนี้ เป็นการยกเลิกการลบป้ายกำกับ และปิดหน้าจอ Popup แจ้งเตือนการลบป้ายกำกับ ระบบลบป้ายกำกับ ปิดเคส ออกจากระบบ

การแก้ไขป้ายกำกับ

ขั้นตอนที่ 1 การแก้ไขป้ายกำกับ ผู้ดูแลระบบ (Admin) จะเป็นผู้ที่มีสิทธิในการแก้ไขป้ายกำกับในระบบ โดยขั้นตอนแก้ไขป้ายกำกับ มีดังนี้ ขั้นตอนที่ 2 กรอกข้อมูลแก้ไขป้ายกำกับ เมื่อผู้ใช้งานกดปุ่ม “แก้ไขป้ายกำกับ” ระบบแสดงหน้าจอแก้ไขป้ายกำกับ โดยข้อมูลที่สามารถแก้ไขได้ประกอบด้วย แสดงสีอัตโนมัติ หากต้องการเปลี่ยนสี สามารถทำได้โดยกดเลือกที่สี เพื่อเปลี่ยนสีที่ต้องการ ระบบเลือกเปิดใช้งาน เป็นค่าเริ่มต้น เพื่อยืนยันการแก้ไขป้ายกำกับใหม่ เมื่อไม่ต้องการแก้ไขป้ายกำกับ ขั้นตอนที่ 3 แก้ไขป้ายกำกับสำเร็จ เมื่อผู้ใช้งานแก้ไขป้ายกำกับสำเร็จแล้ว

การสร้างป้ายกำกับ

     ป้ายกำกับเป็นคำที่กำหนดไว้ล่วงหน้า สำหรับใช้เป็นตัวช่วยให้สามารถจัดกลุ่มและลำดับความสำคัญของการสนทนา และยังสามารถปรับแต่งสีของป้ายกำกับได้ซึ่งช่วยให้มองเห็นป้ายกำกับได้ง่ายขึ้น สามารถเพิ่มได้ 2 วิธี ดังนี้ เพิ่มป้ายกำกับจากเมนูการตั้งค่า ผู้ดูแลระบบ (Admin)และพนักงาน (Agent) จะเป็นผู้ที่มีสิทธิในการเพิ่มป้ายกำกับ โดยขั้นตอนเพิ่มป้ายกำกับ มีดังนี้ เพิ่มป้ายกำกับจากเมนูการสนทนา ผู้ดูแลระบบ (Admin)และพนักงาน (Agent) จะเป็นผู้ที่มีสิทธิในการเพิ่มป้ายกำกับ โดยขั้นตอนเพิ่มป้ายกำกับ มีดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 กรอกข้อมูลเพิ่มป้ายกำกับ เมื่อผู้ใช้งานกดปุ่ม “เพิ่มป้ายกำกับ” ระบบแสดงหน้าจอเพิ่มป้ายกำกับ เพื่อให้กรอกข้อมูลดังนี แสดงสีอัตโนมัติ หากต้องการเปลี่ยนสี สามารถทำได้โดยกดเลือกที่สี เพื่อเปลี่ยนสีที่ต้องการ ระบบเลือกเปิดใช้งาน เป็นค่าเริ่มต้น เพื่อยืนยันการเพิ่มป้ายกำกับใหม่ เมื่อไม่ต้องการเพิ่มป้ายกำกับ ขั้นตอนที่ 2 เพิ่มป้ายกำกับสำเร็จ เมื่อผู้ใช้งานเพิ่มป้ายกำกับสำเร็จแล้ว

EN